@krifoodlove: Nje ide e thjeshte, shume e shijme per sallat per ditet e festave. Ju duhen: ▪️patellxhan ▪️majdanoz ▪️ullinj ▪️pomodorini & vaj ulliri, kripe, piper dhe hudher. Per ju goca qe thoni une sdi te gatuaj do e beni kete recete?? Xoxo Kri 🫶🏻 #salad #easysaladideas #christmasrecipe #christmastime

KriFoodLove
KriFoodLove
Open In TikTok:
Region: AL
Friday 22 December 2023 12:54:15 GMT
210778
3026
13
1030

Music

Download

Comments

xhikuspaho
xhikuspaho :
Edhe pak aceto balsamico Edhe del akoma me super
2023-12-27 19:21:39
3
marsit080785
🌙🇦🇱 :
Une jam kuzhinier dhe e harrova me ça ishte bo sallata qe kur pash trazimin dhe thonjtë e zonjes. Thirrja ime eshte asnje anvise sduhet te ket thonj.
2023-12-26 17:03:08
2
svr568
Whatsapp😎 :
fulll ne krip
2023-12-24 13:38:42
2
iluj655
Ι δύναμη μου 🙏 :
♥♥♥♥
2023-12-29 23:21:15
1
monikamerko
monikamerko :
🥰🥰🥰
2023-12-28 17:59:51
1
ana_ana229
ana_ana229 :
Te lumshin duart. A nuk esht i idhet patellxhani!
2023-12-23 08:56:23
1
To see more videos from user @krifoodlove, please go to the Tikwm homepage.

Other Videos

“หลวงพ่อวัดไร่ขิง” พระพุทธรูปปางมารวิชัยอันศักดิ์สิทธิ์ของวัดไร่ขิงที่มีขนาดหน้าตักกว้าง 4 ศอก 2 นิ้วเศษ สูง 4 ศอก 16 นิ้วเศษ มีนิ้วเรียวงามตามแบบพระพุทธรูปสมัยสุโขทัย แต่พระพักตร์คล้ายพระพุทธรูปแบบรัตนโกสินทร์ หลวงพ่อวัดไร่ขิงประดิษฐานเหนือฐานชุกชี ประวัติที่มา สำหรับประวัติความเป็นมาของหลวงพ่อวัดไร่ขิง จังหวัดนครปฐม นั้น ยังไม่ได้มีปรากฏแน่ชัด แต่ว่ากันว่ามีทั้งหมด 4 ตำนานด้วยกัน ได้แก่ ตำนานที่ 1 เมื่อครั้งที่สมเด็จพระพุฒาจารย์(พุก)ซึ่งเป็นชาวเมืองนครชัยศรี ได้มีเข้ามาที่วัดบริเวณอำเภอสามพรานและเข้าไปในอุโบสถของวัดไร่ขิง ท่านมีความเห็นว่าพระประธานของวัดไร่ขิงมีขนาดเล็กเกินไปจึงบอกให้ท่านอาวาสวัดไร่ขิงและชาวบ้านอัญเชิญพระพุทธรูปจากวัดศาลาปูนวรวิหาร จังหวัดอยุธยามาประดิษฐานไว้ที่วัดไร่ขิง ในวันพระขึ้น 15 ค่ำ เดือน 5 ซึ่งตรงกับวันสงกรานต์ ตำนานที่ 2 เมื่อปี พ.ศ. 2394 สมเด็จพระพุฒาจารย์ (พุก) ที่ขณะนั้นดำรงสมณศักดิ์พระธรรมราชานุวัตรและอยู่ที่วัดศาลาปูนวรวิหาร ได้กลับมาสร้างวัดไร่ขิงที่บ้านเกิดของตนเอง มีการอัญเชิญพระพุทธรูปในอยุธยามาประดิษฐานไว้ในอุโบสถ แต่ท่านมรณภาพเสียก่อนการก่อสร้างจะเสร็จสิ้น และ พระธรรมราชานุวัตร (อาจ จนฺทโชติ) หลานชายของท่านก็ได้มาสานต่อและบูรณะวัดไร่ขิงจนตลอดจนสิ้นอายุของท่าน ตำนานที่ 3 กล่าวว่าเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับพระพุทธรูปทั้ง 5 (หรือ 3) องค์ที่ลอยน้ำมา ตำนานเล่าต่อกันว่า มีพี่น้องชาวเหนือ 5 คน ที่ได้บวชและสำเร็จกลายเป็นพระอริยบุคคลชั้นโสดาบัน ทั้ง 5 คนได้อธิษฐานว่า ‘จะขอช่วยเหลือสัตว์โลกถึงแม้จะเสียชีวิตไปแล้วก็ตาม’ และเมื่อทั้งพระอริยบุคคล 5 รูปได้ดับขันธ์แล้วจึงเข้าไปสิงสถิตอยู่ที่พระพุทธรูปทั้ง 5 องค์เพื่อช่วยคนที่อยู่ติดแม่น้ำให้พ้นทุกข์ จึงลอยแม่น้ำมา 5 สายและถูกอัญเชิญมาประดิษฐานที่วัดต่าง ๆ ดังนี้ * องค์ที่ 1 ลอยไปตามแม่น้ำบางปะกง ขึ้นสถิตที่วัดโสธรวรวิหาร เรียกกันว่า “หลวงพ่อโสธร” * องค์ที่ 2 ลอยไปตามแม่น้ำท่าจีน ขึ้นสถิตที่วัดไร่ขิง เรียกกันว่า “หลวงพ่อวัดไร่ขิง” * องค์ที่ 3 ลอยไปตามแม่น้ำเจ้าพระยาขึ้นสถิตที่วัดบางพลี เรียกกันว่า “หลวงพ่อวัดบางพลี” แต่บางตำนานก็ว่า หลวงพ่อวัดบางพลีเป็นองค์แรกในจำนวน 5 องค์ จึงเรียกว่า “หลวงพ่อโตวัดบางพลี “ * องค์ที่ 4 ลอยไปตามแม่น้ำแม่กลอง ขึ้นสถิตที่วัดบ้านแหลม “หลวงพ่อวัดบ้านแหลม” * องค์ที่ 5 ลอยไปตามแม่น้ำเพชรบุรี ขึ้นสถิตที่วัดเขาตะเครา “หลวงพ่อวัดเขาตะเครา” ตำนานที่ 4 เป็นตำนานของชาวนครปฐมที่กล่าวว่า มีพระพุทธรูป 3 องค์ลอยน้ำขึ้นมา แสดงปาฏิหาริย์ที่บ้านศรีมหาโพธิ์ จงเรียกตำบลนั้นว่า ‘ตำบลบางพระ’ หลังจากนั้นจึงลอยน้ำทวนขึ้นมาใหม่เรียกว่า ‘ตำบลสามประทวน หรือ ตำบลสัมปทวน’ และเมื่อชาวบ้านนำพระพุทธรูปขึ้นมาไม่สำเร็จต้องมีการตากแดดฝน จึงได้มีการตั้งชื่อว่า ‘บ้านลานตากฟ้า’ และ ‘บ้านตากแดด’ นั่นเอง โดยพระพุทธรูปทั้ง 3 องค์ก็ได้ประดิษฐานตามที่ต่าง ๆ ดังนี้ * องค์ที่ 1 ณ วัดไร่ขิง เรียกกันว่า “หลวงพ่อวัดไร่ขิง” * องค์ที่ 2 ณ วัดบ้านแหลม เรียกว่า “หลวงพ่อวัดบ้านแหลม” * องค์ที่ 3 ณ วัดเขาตะเครา เรียกว่า “หลวงพ่อวัดเขาตะเครา” #หลวงพ่อวัดไร่ขิง #วัดไร่ขิง #สามพราน #นครปฐม #ไหว้พระ #เที่ยววัด
“หลวงพ่อวัดไร่ขิง” พระพุทธรูปปางมารวิชัยอันศักดิ์สิทธิ์ของวัดไร่ขิงที่มีขนาดหน้าตักกว้าง 4 ศอก 2 นิ้วเศษ สูง 4 ศอก 16 นิ้วเศษ มีนิ้วเรียวงามตามแบบพระพุทธรูปสมัยสุโขทัย แต่พระพักตร์คล้ายพระพุทธรูปแบบรัตนโกสินทร์ หลวงพ่อวัดไร่ขิงประดิษฐานเหนือฐานชุกชี ประวัติที่มา สำหรับประวัติความเป็นมาของหลวงพ่อวัดไร่ขิง จังหวัดนครปฐม นั้น ยังไม่ได้มีปรากฏแน่ชัด แต่ว่ากันว่ามีทั้งหมด 4 ตำนานด้วยกัน ได้แก่ ตำนานที่ 1 เมื่อครั้งที่สมเด็จพระพุฒาจารย์(พุก)ซึ่งเป็นชาวเมืองนครชัยศรี ได้มีเข้ามาที่วัดบริเวณอำเภอสามพรานและเข้าไปในอุโบสถของวัดไร่ขิง ท่านมีความเห็นว่าพระประธานของวัดไร่ขิงมีขนาดเล็กเกินไปจึงบอกให้ท่านอาวาสวัดไร่ขิงและชาวบ้านอัญเชิญพระพุทธรูปจากวัดศาลาปูนวรวิหาร จังหวัดอยุธยามาประดิษฐานไว้ที่วัดไร่ขิง ในวันพระขึ้น 15 ค่ำ เดือน 5 ซึ่งตรงกับวันสงกรานต์ ตำนานที่ 2 เมื่อปี พ.ศ. 2394 สมเด็จพระพุฒาจารย์ (พุก) ที่ขณะนั้นดำรงสมณศักดิ์พระธรรมราชานุวัตรและอยู่ที่วัดศาลาปูนวรวิหาร ได้กลับมาสร้างวัดไร่ขิงที่บ้านเกิดของตนเอง มีการอัญเชิญพระพุทธรูปในอยุธยามาประดิษฐานไว้ในอุโบสถ แต่ท่านมรณภาพเสียก่อนการก่อสร้างจะเสร็จสิ้น และ พระธรรมราชานุวัตร (อาจ จนฺทโชติ) หลานชายของท่านก็ได้มาสานต่อและบูรณะวัดไร่ขิงจนตลอดจนสิ้นอายุของท่าน ตำนานที่ 3 กล่าวว่าเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับพระพุทธรูปทั้ง 5 (หรือ 3) องค์ที่ลอยน้ำมา ตำนานเล่าต่อกันว่า มีพี่น้องชาวเหนือ 5 คน ที่ได้บวชและสำเร็จกลายเป็นพระอริยบุคคลชั้นโสดาบัน ทั้ง 5 คนได้อธิษฐานว่า ‘จะขอช่วยเหลือสัตว์โลกถึงแม้จะเสียชีวิตไปแล้วก็ตาม’ และเมื่อทั้งพระอริยบุคคล 5 รูปได้ดับขันธ์แล้วจึงเข้าไปสิงสถิตอยู่ที่พระพุทธรูปทั้ง 5 องค์เพื่อช่วยคนที่อยู่ติดแม่น้ำให้พ้นทุกข์ จึงลอยแม่น้ำมา 5 สายและถูกอัญเชิญมาประดิษฐานที่วัดต่าง ๆ ดังนี้ * องค์ที่ 1 ลอยไปตามแม่น้ำบางปะกง ขึ้นสถิตที่วัดโสธรวรวิหาร เรียกกันว่า “หลวงพ่อโสธร” * องค์ที่ 2 ลอยไปตามแม่น้ำท่าจีน ขึ้นสถิตที่วัดไร่ขิง เรียกกันว่า “หลวงพ่อวัดไร่ขิง” * องค์ที่ 3 ลอยไปตามแม่น้ำเจ้าพระยาขึ้นสถิตที่วัดบางพลี เรียกกันว่า “หลวงพ่อวัดบางพลี” แต่บางตำนานก็ว่า หลวงพ่อวัดบางพลีเป็นองค์แรกในจำนวน 5 องค์ จึงเรียกว่า “หลวงพ่อโตวัดบางพลี “ * องค์ที่ 4 ลอยไปตามแม่น้ำแม่กลอง ขึ้นสถิตที่วัดบ้านแหลม “หลวงพ่อวัดบ้านแหลม” * องค์ที่ 5 ลอยไปตามแม่น้ำเพชรบุรี ขึ้นสถิตที่วัดเขาตะเครา “หลวงพ่อวัดเขาตะเครา” ตำนานที่ 4 เป็นตำนานของชาวนครปฐมที่กล่าวว่า มีพระพุทธรูป 3 องค์ลอยน้ำขึ้นมา แสดงปาฏิหาริย์ที่บ้านศรีมหาโพธิ์ จงเรียกตำบลนั้นว่า ‘ตำบลบางพระ’ หลังจากนั้นจึงลอยน้ำทวนขึ้นมาใหม่เรียกว่า ‘ตำบลสามประทวน หรือ ตำบลสัมปทวน’ และเมื่อชาวบ้านนำพระพุทธรูปขึ้นมาไม่สำเร็จต้องมีการตากแดดฝน จึงได้มีการตั้งชื่อว่า ‘บ้านลานตากฟ้า’ และ ‘บ้านตากแดด’ นั่นเอง โดยพระพุทธรูปทั้ง 3 องค์ก็ได้ประดิษฐานตามที่ต่าง ๆ ดังนี้ * องค์ที่ 1 ณ วัดไร่ขิง เรียกกันว่า “หลวงพ่อวัดไร่ขิง” * องค์ที่ 2 ณ วัดบ้านแหลม เรียกว่า “หลวงพ่อวัดบ้านแหลม” * องค์ที่ 3 ณ วัดเขาตะเครา เรียกว่า “หลวงพ่อวัดเขาตะเครา” #หลวงพ่อวัดไร่ขิง #วัดไร่ขิง #สามพราน #นครปฐม #ไหว้พระ #เที่ยววัด

About