@fraanky.15: جني بها #جن #شبح #تنكس #استنزال #الجن #عفاريت #اشباح #جني #رعب #خوف #توتر #الشبح #مرعب #الخوف #horror #scary #ghost #horrortok #screammovie #scream #ghostface #viral #viraltiktok #viralvideo #video

فرانكي
فرانكي
Open In TikTok:
Region: SA
Sunday 28 July 2024 03:03:38 GMT
78106
453
89
1988

Music

Download

Comments

oa9f
. :
يرجال صادق انت؟
2024-07-29 00:14:10
24
sammo_44
sam💙🙌🏼 :
اموت على لحن الذبانه
2024-07-28 05:09:26
93
quurann16
نواف/Nawaf قرآن/Quran :
نزل باسمي نواف
2024-07-28 03:06:36
1
jcjcjcjcjc08
الكندري :
يمه وشو ذا الكلام 😰
2025-01-05 02:04:46
3
a.jo502
- الدوسـّريي💤 . :
اممم هااا اممم هاا ههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههہ ⁵⁰².
2024-12-04 20:47:54
0
abdulelahksa
WoLF :
طبقات صوت موزونه ومؤثرات صوتيه جميله استمر
2024-07-29 13:03:04
1
_oz.f
+505 :
العالم الموازي
2024-07-29 03:57:19
1
f1r_8
ابو سعود :
ياخي وش تبي انت
2024-07-28 23:52:15
1
aalre1
الصقري :
فرنكي عطنا وحده حقت 2024
2024-07-28 10:08:09
1
z64.q
ءـ٦4ـ⚕️🤍 :
هـهـهـهـهـهـهـهـهـهـهـهـهـهـهـهـهـهـهـهـهـهـهـهـهـهـهـ°•°😹
2025-03-04 14:54:55
0
d_home701
حــاليـاً دحــوم🌷 :
انا جمب كتاب رياضيات:
2025-02-28 20:48:01
0
majid503s
سبـــ٥٠٣بيع :
🧿اوااوا 🧿
2025-02-23 06:24:57
0
sfhhhuhg2
حيدر الدون H :
٢٠١٠😂
2024-10-24 16:44:33
0
_r8000
𝑻 𝑨 :
يعطيك العافيه ضحكت اخواني الصغار
2024-08-24 11:31:08
0
ax_t
4 :
هههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههههه
2024-08-17 02:36:47
0
yoooh020
يووه :
إذا مخطوف ارفع يدك
2024-08-07 01:25:38
0
zb123zb12
#الحارثي 🇷🇺🎖️ :
اخوي الكبير في ٢٠١٠
2024-08-06 18:34:49
0
z1211x_
أحـمـد ✪ :
احس سحر
2024-08-06 07:11:17
0
ha_z017
زرقينه .. 🗜 :
الرفعه الرفعه الرفعه
2024-08-03 04:08:14
0
u.ivl
M.☘️ :
نفسي اعرف ماتجيه لحظه ادراك ..؟🤔
2024-08-01 14:44:50
0
شــافــي
شافي الخريصي ☪︎ :
يخثردز اي كلمة بس يبي يوزن اخر حرفين
2024-07-30 18:53:51
0
s97i3
مَهند :
ياعيال قسم بالله انه عايش ٢٠١٠
2024-07-30 09:32:38
0
ji_xc
N🇸🇦 :
❣️الله يرفع عنك
2024-07-29 16:55:02
0
.1tj9
. 🌴 :
كتكوتسه
2024-07-29 10:07:36
0
realstarboyyy
Khalid :
استمر احنا معاك 💙💙💙💙🌹
2024-07-28 22:05:12
0
To see more videos from user @fraanky.15, please go to the Tikwm homepage.

Other Videos

ดีอี เตือนภัย 5 กลโกง ‘โจรออนไลน์’ ช่วงสงกรานต์ เปิดสถิติ 7 คดีออนไลน์ ปชช.ถูกหลอกลวงมากที่สุด นางสาววงศ์อะเคื้อ บุญศล โฆษกกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอี) ฝ่ายการเมือง เปิดเผยว่า กระทรวงดีอี ขอแจ้งเตือนภัยการหลอกลวงทางออนไลน์ ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ ซึ่งมีวันหยุดติดต่อกันหลายวัน เพื่อเป็นการป้องกันการหลอกลวงจาก “โจรออนไลน์” ซึ่งพบว่ามิจฉาชีพได้พัฒนาการก่อเหตุโดยการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ และปรับเปลี่ยนรูปแบบการหลอกลวงไปอย่างต่อเนื่อง ดังนี้... อ่านข่าวต้นฉบับได้ที่ : https://www.matichon.co.th/economy/news_5136889 1.แอบอ้างเป็นขนส่ง ธนาคาร หรือหน่วยงานราชการ มิจฉาชีพจะส่ง SMS หรือข้อความผ่านแอปพลิเคชัน เช่น LINE, Facebook โดยอ้างว่า “พัสดุตกค้าง”, “บัญชีผิดปกติ”, หรือ “มีเงินเข้า” พร้อมแนบลิงก์หลอกลวงให้ผู้ที่หลงเชื่อกดลิงก์ เพื่อติดตั้งแพลตฟอร์มดึงข้อมูลส่วนตัว และเงินในบัญชีธนาคาร... อ่านข่าวต้นฉบับได้ที่ : https://www.matichon.co.th/economy/news_5136889 วิธีป้องกัน อย่ากดลิงก์จากแหล่งที่ไม่น่าเชื่อถือ หลีกเลี่ยงการกรอกข้อมูลส่วนตัว เช่น หมายเลขบัตรประชาชน หรือรหัส OTP และควรตรวจสอบกับหน่วยงานโดยตรงผ่านช่องทางอย่างเป็นทางการเท่านั้น 2. หลอกจองที่พัก/ตั๋วเดินทางปลอม มิจฉาชีพจะใช้รูปแบบการหลอกลวง โดยเปิดเพจหรือเว็บไซต์ปลอม เพื่อเสนอโปรโมชันการจองที่พัก หรือตั๋วเดินทางราคาถูกเกินจริง โดยหลอกให้โอนเงินล่วงหน้า แล้วจึงปิดช่องทาง หรือบล็อกการติดต่อ... อ่านข่าวต้นฉบับได้ที่ : https://www.matichon.co.th/economy/news_5136889 วิธีป้องกัน จองที่พักหรือบริการผ่านแพลตฟอร์มที่น่าเชื่อถือ ตรวจสอบรีวิว หรือสังเกตความผิดปกติของเพจหรือแพลตฟอร์มที่ต้องการจอง และหลีกเลี่ยงการโอนเงินเข้าบัญชีบุคคลโดยตรง 3. การแฮ็กบัญชี Facebook หรือ LINE เพื่อหลอกยืมเงิน มิจฉาชีพจะใช้วิธีการแฮ็กบัญชีของเพื่อนหรือญาติ แล้วทักแชตขอยืมเงินหรือขอความช่วยเหลือด่วน เช่น รถเสีย เข้าโรงพยาบาล ฯลฯ วิธีป้องกัน หากเป็นญาติสนิท ให้ติดต่อโดยการโทรศัพท์ยืนยันกับเจ้าของบัญชีโดยตรงก่อนโอนเงิน และตั้งค่าความปลอดภัย เช่น รหัสผ่านที่คาดเดายาก และยืนยันตัวตน 2 ชั้น (Two-factor authentication) 4. แชร์ลิงก์ปลอมหลอกให้กรอกข้อมูล ลิงก์ที่ใช้ชื่อคล้ายกับหน่วยงาน เช่น “แจกเงินช่วยสงกรานต์”, “รับของขวัญปีใหม่ไทย” เมื่อหลงเชื่อกดลิงก์ อาจนำไปสู่เว็บไซต์ปลอมเพื่อขโมยข้อมูลส่วนบุคคล วิธีป้องกัน ไม่กดลิงก์ที่ส่งมาจากคนแปลกหน้า หรือแม้แต่จากเพื่อนโดยไม่รู้ที่มา ควรตรวจสอบ URLs และหลีกเลี่ยงการกรอกข้อมูลสำคัญในเว็บไซต์ไม่ปลอดภัย 5. หลอกขายสินค้าออนไลน์ช่วงสงกรานต์ มิจฉาชีพจะใช้วิธีการสร้างเพจปลอมเพื่อขายสินค้าที่ดึงดูดความสนใจ และเข้ากับช่วงเทศกาล เช่น ปืนฉีดน้ำ เสื้อผ้าตามเทศกาล ของแต่งบ้านช่วงวันหยุดยาว ฯลฯ โดยเสนอโปรโมชันที่น่าสนใจ ราคาถูก มีจำนวนจำกัด เพื่อหลอกลวงให้ผู้ที่สนใจเร่งโอนเงินด่วน วิธีป้องกัน ซื้อสินค้าจากร้านค้าที่มีตัวตนชัดเจน มีรีวิวจากลูกค้าจริง และควรใช้ระบบเก็บเงินปลายทาง (COD) หรือช่องทางการชำระเงินที่มีระบบคุ้มครองผู้ซื้อ ทั้งนี้จากสถิติ เดือนกุมภาพันธ์ 2568 พบว่า มีการแจ้งความคดีออนไลน์ จำนวนกว่า 25,000 คดี โดย 7 อันดับสูงสุด ได้แก่ (1) คดีหลอกลวงซื้อขายสินค้าหรือบริการ (ไม่เป็นขบวนการ) จำนวน 13,643 คดี (2) คดีหลอกให้โอนเงินเพื่อรับรางวัลหรือวัตถุประสงค์อื่น จำนวน 2,660 คดี (3) คดีหลอกให้โอนเงินเพื่อทำงานหารายได้พิเศษ จำนวน 2,524 คดี (4) คดีหลอกให้ลงทุนผ่านระบบคอมพิวเตอร์ จำนวน 1,442 คดี (5) คดีหลอกให้กู้เงิน จำนวน 1,413 คดี (6) คดีแก๊งคอลเซ็นเตอร์ จำนวน 1,251 คดี และ (7) คดีหลอกลวงเป็นบุคคลอื่นเพื่อยืมเงิน จำนวน 1,046 คดี อย่างไรก็ตาม กระทรวงดีอี มีความห่วงใยประชาชน โดยขอให้ยึดหลัก 4 ไม่ คือ 1. ไม่กดลิงก์ 2.ไม่เชื่อ 3.ไม่รีบ และ 4.ไม่โอน ก่อนที่จะทำธุรกรรมใดๆ อย่ากดเข้าลิงก์เว็บไซต์ หรือดาวน์โหลด และอัปโหลดแพลตฟอร์ม ที่มีการส่งต่อจากช่องทางที่ไม่แน่ใจ ทั้งนี้หากประชาชนโดนหลอกออนไลน์ โทรแจ้งดำเนินการ ระงับ อายัดบัญชี ผ่านศูนย์ AOC 1441 ได้ตลอด 24 ชั่วโมง... อ่านข่าวต้นฉบับได้ที่ : https://www.matichon.co.th/economy/news_5136889#ข่าวออนไลน์7hd
ดีอี เตือนภัย 5 กลโกง ‘โจรออนไลน์’ ช่วงสงกรานต์ เปิดสถิติ 7 คดีออนไลน์ ปชช.ถูกหลอกลวงมากที่สุด นางสาววงศ์อะเคื้อ บุญศล โฆษกกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอี) ฝ่ายการเมือง เปิดเผยว่า กระทรวงดีอี ขอแจ้งเตือนภัยการหลอกลวงทางออนไลน์ ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ ซึ่งมีวันหยุดติดต่อกันหลายวัน เพื่อเป็นการป้องกันการหลอกลวงจาก “โจรออนไลน์” ซึ่งพบว่ามิจฉาชีพได้พัฒนาการก่อเหตุโดยการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ และปรับเปลี่ยนรูปแบบการหลอกลวงไปอย่างต่อเนื่อง ดังนี้... อ่านข่าวต้นฉบับได้ที่ : https://www.matichon.co.th/economy/news_5136889 1.แอบอ้างเป็นขนส่ง ธนาคาร หรือหน่วยงานราชการ มิจฉาชีพจะส่ง SMS หรือข้อความผ่านแอปพลิเคชัน เช่น LINE, Facebook โดยอ้างว่า “พัสดุตกค้าง”, “บัญชีผิดปกติ”, หรือ “มีเงินเข้า” พร้อมแนบลิงก์หลอกลวงให้ผู้ที่หลงเชื่อกดลิงก์ เพื่อติดตั้งแพลตฟอร์มดึงข้อมูลส่วนตัว และเงินในบัญชีธนาคาร... อ่านข่าวต้นฉบับได้ที่ : https://www.matichon.co.th/economy/news_5136889 วิธีป้องกัน อย่ากดลิงก์จากแหล่งที่ไม่น่าเชื่อถือ หลีกเลี่ยงการกรอกข้อมูลส่วนตัว เช่น หมายเลขบัตรประชาชน หรือรหัส OTP และควรตรวจสอบกับหน่วยงานโดยตรงผ่านช่องทางอย่างเป็นทางการเท่านั้น 2. หลอกจองที่พัก/ตั๋วเดินทางปลอม มิจฉาชีพจะใช้รูปแบบการหลอกลวง โดยเปิดเพจหรือเว็บไซต์ปลอม เพื่อเสนอโปรโมชันการจองที่พัก หรือตั๋วเดินทางราคาถูกเกินจริง โดยหลอกให้โอนเงินล่วงหน้า แล้วจึงปิดช่องทาง หรือบล็อกการติดต่อ... อ่านข่าวต้นฉบับได้ที่ : https://www.matichon.co.th/economy/news_5136889 วิธีป้องกัน จองที่พักหรือบริการผ่านแพลตฟอร์มที่น่าเชื่อถือ ตรวจสอบรีวิว หรือสังเกตความผิดปกติของเพจหรือแพลตฟอร์มที่ต้องการจอง และหลีกเลี่ยงการโอนเงินเข้าบัญชีบุคคลโดยตรง 3. การแฮ็กบัญชี Facebook หรือ LINE เพื่อหลอกยืมเงิน มิจฉาชีพจะใช้วิธีการแฮ็กบัญชีของเพื่อนหรือญาติ แล้วทักแชตขอยืมเงินหรือขอความช่วยเหลือด่วน เช่น รถเสีย เข้าโรงพยาบาล ฯลฯ วิธีป้องกัน หากเป็นญาติสนิท ให้ติดต่อโดยการโทรศัพท์ยืนยันกับเจ้าของบัญชีโดยตรงก่อนโอนเงิน และตั้งค่าความปลอดภัย เช่น รหัสผ่านที่คาดเดายาก และยืนยันตัวตน 2 ชั้น (Two-factor authentication) 4. แชร์ลิงก์ปลอมหลอกให้กรอกข้อมูล ลิงก์ที่ใช้ชื่อคล้ายกับหน่วยงาน เช่น “แจกเงินช่วยสงกรานต์”, “รับของขวัญปีใหม่ไทย” เมื่อหลงเชื่อกดลิงก์ อาจนำไปสู่เว็บไซต์ปลอมเพื่อขโมยข้อมูลส่วนบุคคล วิธีป้องกัน ไม่กดลิงก์ที่ส่งมาจากคนแปลกหน้า หรือแม้แต่จากเพื่อนโดยไม่รู้ที่มา ควรตรวจสอบ URLs และหลีกเลี่ยงการกรอกข้อมูลสำคัญในเว็บไซต์ไม่ปลอดภัย 5. หลอกขายสินค้าออนไลน์ช่วงสงกรานต์ มิจฉาชีพจะใช้วิธีการสร้างเพจปลอมเพื่อขายสินค้าที่ดึงดูดความสนใจ และเข้ากับช่วงเทศกาล เช่น ปืนฉีดน้ำ เสื้อผ้าตามเทศกาล ของแต่งบ้านช่วงวันหยุดยาว ฯลฯ โดยเสนอโปรโมชันที่น่าสนใจ ราคาถูก มีจำนวนจำกัด เพื่อหลอกลวงให้ผู้ที่สนใจเร่งโอนเงินด่วน วิธีป้องกัน ซื้อสินค้าจากร้านค้าที่มีตัวตนชัดเจน มีรีวิวจากลูกค้าจริง และควรใช้ระบบเก็บเงินปลายทาง (COD) หรือช่องทางการชำระเงินที่มีระบบคุ้มครองผู้ซื้อ ทั้งนี้จากสถิติ เดือนกุมภาพันธ์ 2568 พบว่า มีการแจ้งความคดีออนไลน์ จำนวนกว่า 25,000 คดี โดย 7 อันดับสูงสุด ได้แก่ (1) คดีหลอกลวงซื้อขายสินค้าหรือบริการ (ไม่เป็นขบวนการ) จำนวน 13,643 คดี (2) คดีหลอกให้โอนเงินเพื่อรับรางวัลหรือวัตถุประสงค์อื่น จำนวน 2,660 คดี (3) คดีหลอกให้โอนเงินเพื่อทำงานหารายได้พิเศษ จำนวน 2,524 คดี (4) คดีหลอกให้ลงทุนผ่านระบบคอมพิวเตอร์ จำนวน 1,442 คดี (5) คดีหลอกให้กู้เงิน จำนวน 1,413 คดี (6) คดีแก๊งคอลเซ็นเตอร์ จำนวน 1,251 คดี และ (7) คดีหลอกลวงเป็นบุคคลอื่นเพื่อยืมเงิน จำนวน 1,046 คดี อย่างไรก็ตาม กระทรวงดีอี มีความห่วงใยประชาชน โดยขอให้ยึดหลัก 4 ไม่ คือ 1. ไม่กดลิงก์ 2.ไม่เชื่อ 3.ไม่รีบ และ 4.ไม่โอน ก่อนที่จะทำธุรกรรมใดๆ อย่ากดเข้าลิงก์เว็บไซต์ หรือดาวน์โหลด และอัปโหลดแพลตฟอร์ม ที่มีการส่งต่อจากช่องทางที่ไม่แน่ใจ ทั้งนี้หากประชาชนโดนหลอกออนไลน์ โทรแจ้งดำเนินการ ระงับ อายัดบัญชี ผ่านศูนย์ AOC 1441 ได้ตลอด 24 ชั่วโมง... อ่านข่าวต้นฉบับได้ที่ : https://www.matichon.co.th/economy/news_5136889#ข่าวออนไลน์7hd

About