@soso_alsalman: #سوما

♛ soso
♛ soso
Open In TikTok:
Region: SA
Friday 29 November 2024 21:29:40 GMT
224892
5114
434
320

Music

Download

Comments

waelelayied
:
تعرفي تتكلمي مصري 😂 بصي هبهرك😂😂😂😂 بقي بقي بقي
2024-11-30 13:44:49
0
nadaaburaya
NaDaAbuRaYa :
هو احنا بنبئ بئ احنا بنغرق ولا ايه😂😂
2024-11-30 04:58:18
137
yaraali8261
♥️﴿ عشق ﴾ 🤍 :
هو احنا بنبء بء بء كده 😂
2024-11-30 01:28:51
52
userre04h0d968
🇪🇬 مصر 🇪🇬 :
😂😂😂😂😂 طيب ياسماسم تشرفينا ياقلبي تعالى نعلمك نحن 27 لهجه وكمان عندنا لغه خاصه بينا لو حابه تتعمقى اكتر فى مصر 🥰🥰
2024-11-29 22:48:37
19
lomy.87
🕊️•• :
بئى بئى بئى ههههههههههههههههههههههههه
2024-11-29 21:41:51
64
user7278204115658
بنت المملكه 🇲🇦 :
اكيد مش هقولك تتكلمي مغربي 😂بس انا بموت فيك
2024-11-29 22:35:18
6
maaza.kharaz
🇸🇩MAAZA :
سوما اتكلمي سوداني😂 علشان انا بحبك😂😂 قصدي احبش
2024-11-29 21:48:52
9
emaneldeeb2010
eman :
والله كلامها مفهوم جدا مش محتاجه تتكلم مصرى
2024-11-30 12:47:47
11
To see more videos from user @soso_alsalman, please go to the Tikwm homepage.

Other Videos

การแสดงตลกเอกเทศ ชุด “เทวดาเบญจพรรณ (ตลกหลวง)” . มีคนส่งเข้ามาถามว่า ในคลิป (ฝั่งขวา) คนกัมพูชาแสดงอะไร ทำไมคล้ายกับของไทย (ฝั่งซ้าย) ก็ต้องบอกว่า คล้ายจริง ๆ ทั้งการแสดง ท่าทาง เพลงที่ใช้ (ดัดแปลงเป็นภาษาเขมร) รวมถึงชุดที่ใส่ด้วย แอดมินก็ไปค้นหาการแสดงลักษณะนี้ของเขมรมา ก็พบคลิปที่เก่าสุด เป็นคลิปปี ๒๕๓๔ (1991) แต่ตอนนั้นสิ่งที่แตกต่าง คือ “ลอมพอก (สวมหัว)” ตอนนั้นที่ใช้สวมเป็นทรงที่เขมรเคยใช้มาตลอดเป็นแบบโค้ง ๆ แต่ในคลิปปี ๒๕๖๗ นี้เห็นชัดว่า เขมรหันมาใช้ “ลอมพอก” แบบไทยเลย (หรืออาจจะมาซื้อที่ไทยก็เป็นไปได้) งั้นวันนี้เรามาทำความรู้จักหนึ่งในการแสดงของไทย ที่คนทั่วไปไม่ค่อยจะรู้จักกัน . ในการแสดงชุดเทวดาเบญจพรรณ (ตลกหลวง) ซึ่งเป็นการแสดงตลกเอกเทศ ไม่ต้องอิงกับการแสดงชุดอื่น ๆ ผู้เล่นต้องมีความสามารถค่อนข้างมาก ทั้งรู้ท่ารำ รู้จักทำนองเพลงต่าง ๆ รวมทั้งทำนอง เพลงสิบสองภาษาด้วย ในส่วนนี้จะเป็นเพลง “โนเน” ซึ่งในการแสดงเทวดาเบญจพรรณจะต้องมีทุกครั้ง ในส่วนหลังจะเป็นออกทำนองเพลงสิบสองภาษา . การแสดงเทวดาเบญจพรรณนั้น เป็นการแสดงที่มีมาแต่โบราณเชื่อมกันระหว่าง “โขน” กับ “สวดคฤหัสถ์” ใช้เพลง “โนเน (ยายโนเน)” ซึ่งเป็นเพลงพื้นบ้านพื้นถิ่นของชุมชนบ้านบางเก่า อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี มาประกอบการแสดง เดิมแล้วเพลงนี้ เป็นเพลงเกี้ยวกันระหว่างหนุ่มสาวรามัญหงสาวดี ที่อพยพติดตามสมเด็จพระนเรศวรมหาราชมา และมีการสืบต่อพัฒนามาเป็นเพลงพื้นบ้านของชุมชนบ้านบางเก่าจนถึงปัจจุบัน . ครูมืด ประสาท ทองอร่าม เคยเล่าว่า การแสดงเทวดาเบญจพรรณชุดนี้มีมาแต่โบราณ ซึ่งได้ครูทั้ง ๒ ท่านที่ช่วยกันฟื้นฟูและประยุกต์ขึ้นมา เริ่มเมื่อประมาณ ๔๐-๕๐ ปีก่อน คือ ครูเสรี หวังในธรรม กับครูยอแสง ภักดีเทวา ที่สองท่านได้ร่วมแสดงด้วยกันมา ครูมืดเล่าต่อว่า ที่คนทั่วไปไม่ค่อยรู้จักเพราะการแสดงชุดนี้ ไม่มีในหลักสูตรเรียนเหมือนตัวพระ ตัวนาง ตัวยักษ์ ถ้าจะเรียนต้องมาเรียนกับครูโดนตรง และร่วมแสดงด้วยกัน . ในคลิปเป็นการแสดงเทวดาเบญจพรรณ (ตลกหลวง) ปี ๒๕๓๒ ของศูนย์สังคีตศิลป์ ครั้งที่ ๔๘๔ ควบคุมการแสดงโดย อาจารย์เสรี หวังในธรรม ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ศิลปะการละคร) ประจำปี ๒๕๓๑ ณ ศูนย์สังคีตศิลป์ ธนาคารกรุงเทพ สาขาสะพานผ่านฟ้า  . โดยมีผู้แสดง ๓ ท่านด้วยกัน คือ  ๑. อ.ประพันธ์ ละมูลวงค์ (เป็นเทวดา) ๒. อ.ประสาท ทองอร่าม (เป็นลูกคู่) ๓. อ.ถนอม นวลอนันต์ (เป็นลูกคู่) . #โบราณนานมา #ตลกเอกเทศ #เทวดาเบญจพรรณ
การแสดงตลกเอกเทศ ชุด “เทวดาเบญจพรรณ (ตลกหลวง)” . มีคนส่งเข้ามาถามว่า ในคลิป (ฝั่งขวา) คนกัมพูชาแสดงอะไร ทำไมคล้ายกับของไทย (ฝั่งซ้าย) ก็ต้องบอกว่า คล้ายจริง ๆ ทั้งการแสดง ท่าทาง เพลงที่ใช้ (ดัดแปลงเป็นภาษาเขมร) รวมถึงชุดที่ใส่ด้วย แอดมินก็ไปค้นหาการแสดงลักษณะนี้ของเขมรมา ก็พบคลิปที่เก่าสุด เป็นคลิปปี ๒๕๓๔ (1991) แต่ตอนนั้นสิ่งที่แตกต่าง คือ “ลอมพอก (สวมหัว)” ตอนนั้นที่ใช้สวมเป็นทรงที่เขมรเคยใช้มาตลอดเป็นแบบโค้ง ๆ แต่ในคลิปปี ๒๕๖๗ นี้เห็นชัดว่า เขมรหันมาใช้ “ลอมพอก” แบบไทยเลย (หรืออาจจะมาซื้อที่ไทยก็เป็นไปได้) งั้นวันนี้เรามาทำความรู้จักหนึ่งในการแสดงของไทย ที่คนทั่วไปไม่ค่อยจะรู้จักกัน . ในการแสดงชุดเทวดาเบญจพรรณ (ตลกหลวง) ซึ่งเป็นการแสดงตลกเอกเทศ ไม่ต้องอิงกับการแสดงชุดอื่น ๆ ผู้เล่นต้องมีความสามารถค่อนข้างมาก ทั้งรู้ท่ารำ รู้จักทำนองเพลงต่าง ๆ รวมทั้งทำนอง เพลงสิบสองภาษาด้วย ในส่วนนี้จะเป็นเพลง “โนเน” ซึ่งในการแสดงเทวดาเบญจพรรณจะต้องมีทุกครั้ง ในส่วนหลังจะเป็นออกทำนองเพลงสิบสองภาษา . การแสดงเทวดาเบญจพรรณนั้น เป็นการแสดงที่มีมาแต่โบราณเชื่อมกันระหว่าง “โขน” กับ “สวดคฤหัสถ์” ใช้เพลง “โนเน (ยายโนเน)” ซึ่งเป็นเพลงพื้นบ้านพื้นถิ่นของชุมชนบ้านบางเก่า อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี มาประกอบการแสดง เดิมแล้วเพลงนี้ เป็นเพลงเกี้ยวกันระหว่างหนุ่มสาวรามัญหงสาวดี ที่อพยพติดตามสมเด็จพระนเรศวรมหาราชมา และมีการสืบต่อพัฒนามาเป็นเพลงพื้นบ้านของชุมชนบ้านบางเก่าจนถึงปัจจุบัน . ครูมืด ประสาท ทองอร่าม เคยเล่าว่า การแสดงเทวดาเบญจพรรณชุดนี้มีมาแต่โบราณ ซึ่งได้ครูทั้ง ๒ ท่านที่ช่วยกันฟื้นฟูและประยุกต์ขึ้นมา เริ่มเมื่อประมาณ ๔๐-๕๐ ปีก่อน คือ ครูเสรี หวังในธรรม กับครูยอแสง ภักดีเทวา ที่สองท่านได้ร่วมแสดงด้วยกันมา ครูมืดเล่าต่อว่า ที่คนทั่วไปไม่ค่อยรู้จักเพราะการแสดงชุดนี้ ไม่มีในหลักสูตรเรียนเหมือนตัวพระ ตัวนาง ตัวยักษ์ ถ้าจะเรียนต้องมาเรียนกับครูโดนตรง และร่วมแสดงด้วยกัน . ในคลิปเป็นการแสดงเทวดาเบญจพรรณ (ตลกหลวง) ปี ๒๕๓๒ ของศูนย์สังคีตศิลป์ ครั้งที่ ๔๘๔ ควบคุมการแสดงโดย อาจารย์เสรี หวังในธรรม ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ศิลปะการละคร) ประจำปี ๒๕๓๑ ณ ศูนย์สังคีตศิลป์ ธนาคารกรุงเทพ สาขาสะพานผ่านฟ้า . โดยมีผู้แสดง ๓ ท่านด้วยกัน คือ ๑. อ.ประพันธ์ ละมูลวงค์ (เป็นเทวดา) ๒. อ.ประสาท ทองอร่าม (เป็นลูกคู่) ๓. อ.ถนอม นวลอนันต์ (เป็นลูกคู่) . #โบราณนานมา #ตลกเอกเทศ #เทวดาเบญจพรรณ

About